ทำความรู้จักคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะในเรื่องการ ทำงาน กลายเป็นศาสตร์ที่ต้องเรียนรู้ เพื่อช่วยให้สามารถทำงานต่างๆ ได้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา มากกว่าเดิม และนอกจากที่ทำงานแล้ว ที่บ้านคอมพิวเตอร์ก็ได้เป็น ส่วนหนึ่งที่สามารถช่วยงานส่วนตัว ด้านต่างๆ เช่น ดูหนังฟัง เพลง ใช้อินเตอร์เน็ต ฯลฯ
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะในเรื่องการ ทำงาน กลายเป็นศาสตร์ที่ต้องเรียนรู้ เพื่อช่วยให้สามารถทำงานต่างๆ ได้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา มากกว่าเดิม และนอกจากที่ทำงานแล้ว ที่บ้านคอมพิวเตอร์ก็ได้เป็น ส่วนหนึ่งที่สามารถช่วยงานส่วนตัว ด้านต่างๆ เช่น ดูหนังฟัง เพลง ใช้อินเตอร์เน็ต ฯลฯ
คอมพิวเตอร์คืออะไร
คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์
“ อุปกรณ์อะไรก็ได้ที่สามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผล แล้วได้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ โดยส่วนต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับ ข้อมูล หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผลข้อมูล ”
คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์
“ อุปกรณ์อะไรก็ได้ที่สามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผล แล้วได้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ โดยส่วนต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับ ข้อมูล หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผลข้อมูล ”
ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
มี 3 ส่วนหลักๆ ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟท์แวร์ (SoftWare)
3. บุคลากร (Peopleware)
มี 3 ส่วนหลักๆ ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟท์แวร์ (SoftWare)
3. บุคลากร (Peopleware)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
เป็นอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น จอภาพ (Monitor) เมาส์ (Mouse) แป้นพิมพ์ (Keyboard) ซีพียู (CPU) พรินเตอร์ (Printer) สแกนเนอร์ (Scanner) ยูพีเอส (UPS) ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM DRIVE) โมเด็ม (Modem) แผ่นดิสก์ เก็ต (Disket) แรม (Ram) ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) การ์ดเสียง (Sound Card) เป็นต้น
เป็นอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น จอภาพ (Monitor) เมาส์ (Mouse) แป้นพิมพ์ (Keyboard) ซีพียู (CPU) พรินเตอร์ (Printer) สแกนเนอร์ (Scanner) ยูพีเอส (UPS) ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM DRIVE) โมเด็ม (Modem) แผ่นดิสก์ เก็ต (Disket) แรม (Ram) ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) การ์ดเสียง (Sound Card) เป็นต้น
ซอฟท์แวร์ (Software)
เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หรือเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานต่างๆ ตามที่เราต้องการ ซึ่งอาจแบ่งได้ 2 ประเภท ดัง นี้
เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หรือเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานต่างๆ ตามที่เราต้องการ ซึ่งอาจแบ่งได้ 2 ประเภท ดัง นี้
1. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS)
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุม การทำงานต่างๆ เช่น การแสดงผลข้อมูล การติดต่อกับผู้ใช้ โดย ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้กับ คอมพิวเตอร์ให้สามารถสื่อสารกันได้ ควบคุมและจัดสรรทรัพยากร ให้กับโปรแกรมต่างๆ โปรแกรม ประเภทนี้มักเรียกกันย่อๆ ว่าโอเอส (OS)
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุม การทำงานต่างๆ เช่น การแสดงผลข้อมูล การติดต่อกับผู้ใช้ โดย ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้กับ คอมพิวเตอร์ให้สามารถสื่อสารกันได้ ควบคุมและจัดสรรทรัพยากร ให้กับโปรแกรมต่างๆ โปรแกรม ประเภทนี้มักเรียกกันย่อๆ ว่าโอเอส (OS)
ตัวอย่างโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เช่น DOS, Windows 3.1, Windows 95 OEM, Windows 95 OSR, Windows 98, Windows ME, Windows NT, Windows 2000, Windows XP, Linux, Unix เป็นต้น
2. โปรแกรมประยุกต์ (Applications)
โปรแกรมประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาใช้งานเฉพาะทาง เช่น ใช้พิมพ์เอกสาร วาดภาพ ติดต่อสื่อสาร คำนวณ ฯลฯ โปรแกรมประเภทนี้มีให้เลือกใช้มาก มายเป็นหมื่นๆ โปรแกรม ผู้ใช้สามารถ สร้างขึ้นเองได้ เพื่อให้ตรงกับงานที่ทำมากที่สุด
โปรแกรมประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาใช้งานเฉพาะทาง เช่น ใช้พิมพ์เอกสาร วาดภาพ ติดต่อสื่อสาร คำนวณ ฯลฯ โปรแกรมประเภทนี้มีให้เลือกใช้มาก มายเป็นหมื่นๆ โปรแกรม ผู้ใช้สามารถ สร้างขึ้นเองได้ เพื่อให้ตรงกับงานที่ทำมากที่สุด
ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ เช่น Microsoft Office, PageMaker, Photoshop, Cute FTP, WinAmp, Netscape, Internet Explorer ฯลฯ
บุคลากร (Peopleware)
เป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น คนใช้ คนขาย คนสอน คนซื้อ คนสร้าง โปรแกรม คนผลิต โดยสรุปแล้วก็คือ บุคคลทุกคนที่ได้เข้ามาเกี่ยวข้อง กับคอมพิวเตอร์นั่นเอง
เป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมด เช่น คนใช้ คนขาย คนสอน คนซื้อ คนสร้าง โปรแกรม คนผลิต โดยสรุปแล้วก็คือ บุคคลทุกคนที่ได้เข้ามาเกี่ยวข้อง กับคอมพิวเตอร์นั่นเอง
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น